วันอังคารที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

การบ้านครั้งที่ 2

1.คำนิยาม Topology
A network topology refers to either the physical, or logical, layout of a network installation.
Physical Topology, when in the context of networking, refers to the physical layout of the devices connected to the network, including the location and cable installation.
            There are four main network topologies (and mixtures of the four) in common use today.
This type of network topology is generally used with Ethernet (discussed later in the tutorial) networks.
            A Bus topology can be both Physical and Logical.
            The Bus topology is one of the simplest of the four network topologies to use. In its most basic form, it is simply a case of running one cable (referred to as the backbone) from the first device/PC in the network to the last device/PC, and then add any further devices/PCs to the existing cable (backbone) between the first and last machines. This topology is probably the cheapest network type of all to initially setup, as only one cable is used the installation is fairly simple and economical.  The problems can come when trying to add a device to an existing Bus topology network. To add a device requires physically linking it to the existing backbone, which can turn out to be a major job. Another consideration if using a bus topology for a network is fault tolerance, or the lack of it. This type of network transfers data by passing messages through the same cable, so a break in any part of the cable will bring the whole network down. Each device will check to see if the message is intended for them, the device to which the data is addressed will copy the contents to its network card's onboard RAM, and process it accordingly.

-The Ring Topology
            The physical ring topology is rarely used these days, a Ring topology networks the devices by connecting each device to its two neighbouring devices.
Data is passed one way from device to device, fault tolerance in a physical ring topology is non existant, if one device/cable fails then the whole network goes down. Adding a new device to an existing physical Ring network can be complicated, as any new device needs to go inbetween the existing devices.


The Star Topology
            A physical Star topology connects the devices via a centralised unit, such as a Hub or Switch. A Star topology gives great fault tolerance, as any device/cable failure will not affect the rest of the network (unless the centralising device or server (if vital) fails).
            Physically adding new devices to a Star network is very simple compared to any of the other topologies, you simply run a cable from the new device to the hub/switch. Star topologies are very common, especially in Ethernet networks, also, they are commonly mixed with one of the other topologies to create a hybrid topology.


2. คำนิยาม DDOS
            DDOS  DDoS (Distributed Denial of Service) คือการโจมตีในรูปแบบเดียวกันกับ DoS แต่จะต่างกันตรงที่ว่าจะใช้หลายๆเครื่องช่วยในการทำซึ่งจะให้ผลลัพธ์ที่เป็นอันตรายและรวดเร็วมากกว่าการทำโดยใช้เครื่องเดียวมากนัก การโจมตีด้วยวิธีการ DDoS  นี้นั้นการป้องกันเป็นไปได้ยากเพราะเกิดขึ้นจากหลายๆที่และหลายๆจุดซึ่งการโจมตีด้วยวิธีการ DDoS นี้นั้นจะเกิดขึ้นจากการที่ใช้ Bots ซึ่งเป็นโปรแกรมที่ทำหน้าที่บางอย่างโดยอัตโนมัติ เข้าไปฝังตัวอยู่ที่เครื่อง Computer ของเหยื่อโดยจะเปลี่ยนให้computer เครื่องนั้นกลายเป็น Zombies เพื่อที่จะรอรับคำสั่งต่างๆจากผู้โจมตีโดยผ่านช่องทางต่างๆเช่น IRC เป็นต้น           

3.คำนิยาม Firewall
            Firewall คือ ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ที่องค์กรต่างๆมีไว้เพื่อป้องกันเครือข่ายคอมพิวเตอร์ภายในของตนจากอันตรายที่มาจากเครือข่ายคอมพิวเตอร์ภายนอก เช่น ผู้บุกรุก หรือ Hacker Firewall จะอนุญาตให้เฉพาะข้อมูลที่มีคุณลักษณะตรงกับเงื่อนไขที่กำหนดไว้ผ่านเข้าออกระบบเครือข่ายภายในเท่านั้น อย่างไรก็ดี Firewall นั้นไม่สามารถป้องกันอันตรายที่มาจากอินเทอร์เน็ตได้ทุกรูปแบบ ไวรัสก็เป็นหนึ่งในนั้น ดังนั้นจึงไม่สามารถรับรองได้ว่าความปลอดภัยหรือความลับของข้อมูลจะมีอยู่ร้อยเปอร์เซ็นถึงแม้ว่าจะมีการใช้ Firewall แล้วก็ตาม       

4. Wireless LAN
802.3
ชื่อมาตรฐานของ เทคโนโลยีเครือข่าย LAN ที่นิยมใช้งานกันอย่างกว้างขวางในปัจจุบัน มีอุปกรณ์สนับสนุน เพื่อใช้งานเครือข่ายมากที่สุดในท้องตลาด ใช้งาน Media Access Method แบบ CSMA/CD ต่อมาได้พัฒนาโดยนำมาใช้กับโทโปโลยีแบบ ดาว (Star) โดยมีอุปกรณ์ฮับเป็นจุดรวมของสัญญาณ เพื่อกระจายสัญญาณไปยังเครือข่าย เทคโนโลยีอีเธอร์เน็ตสามารถเชื่อมต่อได้หลายรูปแบบ เช่น 10Base5 , 10Base2 , 10BaseT

802.5
            ระบบเครือข่ายแบบ Token Ring ได้รับการพัฒนาโดย IBM จะใช้ Access Method แบบ Token Passing และTopology แบบ Ring สามารถใช้ได้กับสาย STP,UTP,Coaxial และ Fiber Optic มาตรฐานความเร็วจะมี 2 แบบ คือ 4 Mbps และ 16 Mbps

802.11
IEEE 802.11 คือมาตรฐานการทำงานของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ได้กำหนดขึ้นโดย Institute of Electrical and Electronics Engineers (IEEE)

802.11A
เป็นความถี่ที่สูง อยู่ในระหว่าง 5.15GHz ถึง 5.35GHz และให้แบนด์วิดท์ที่สูงกว่า โดยในทางทฤษฎีสูงสุด 54Mbps แต่ในการใช้งานจริงแล้วจะอยู่ที่ประมาณ 22Mbps มาตรฐานนี้จึงเหมาะที่จะนำมา ใช้ในการจัดส่งข้อมูลเสียงและภาพกราฟิก แต่ข้อเสียหลักๆ ก็คือ มีรัศมีทำการอยู่แค่ 75 ฟุต ดังนั้นถ้าต้องการระยะทางที่ไกล ขึ้นจะต้องเสียค่าใช้จ่ายในการ ติดตั้งอุปกรณ์ Access Point เพิ่มขึ้นมาก

802.11B
 มาตรฐานที่นิยมใช้ กันมากที่สุดในปัจจุบันนี้และมีอุปกรณ์ที่รองรับอย่างมากมายทีเดียว ระบบไร้สายประเภทนี้ใช้การส่งคลื่น สัญญาณวิทยุในย่านความถี่ 2.4GHz และสามารถส่งถ่ายข้อมูลด้วยความเร็วสูงสุดที่ 11Mbps ภายในรัศมี 300 เมตร ด้วยความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจ แบนด์วิทด์ที่ได้รับและระยะทางที่เชื่อมโยงได้ไกลจึงทำให้เป็นมาตรฐานที่นิยมใช้งานภายในองค์กรโดยทั่วไป ทั้งยังรองรับการใช้งานได้หลากหลายไม่ว่า จะทำงานภายในบ้านโดยไม่ต้องเข้าสำนักงานหรือในชีวิตการ ทำงาน

802.11G
ได้ใช้นำเทคโนโลยี OFDM มาประยุกต์ใช้ในช่องสัญญาณวิทยุความถี่ 2.4 GHz ซึ่งอุปกรณ์ WLAN มีความสามารถในการรับส่งข้อมูลด้วยความเร็วสูงสุดที่ 54 Mbps ส่วนรัศมีสัญญาณของอุปกรณ์ WLAN จะอยู่ระหว่างรัศมีสัญญาณของอุปกรณ์ IEEE 802.11a และ IEEE 802.11b เนื่องจากความถี่ 2.4 GHz เป็นย่านความถี่สาธารณะสากล อีกทั้งอุปกรณ์ IEEE 802.11g WLAN สามารถทำงานร่วมกับอุปกรณ์ IEEE 802.11b WLAN ได้  

802.11N
IEEE802.11nเป็นมาตรฐานของเครือข่ายไร้สายที่คาดหมายกันว่าจะเข้ามาแทนที่มาตรฐานIEEE802.11a, IEEE802.11bและIEEE802.11gที่ใช้งานกันอยู่ในปัจจุบันโดยให้อัตราความเร็วในการรับส่งข้อมูลในระดับ100เมกะบิตต่อวินาที

0 ความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น